ธุรกิจหอพัก,อพาร์ทเมนท์ให้เช่า คืนทุนช้าแต่กำไรงาม

Website : http://apartment-tel0867431141.blogspot.com/
บริษัท รับออกแบบ รับเหมาก่อสร้าง
รับสร้างห้องเช่า รับสร้างหอพัก รับสร้างเซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์  รับสร้างอพาร์ทเม้นท์  รับสร้างโรงแร แบบห้องเช่า แบบหอพัก แบบเซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ แบบอพาร์ทเม้นท์ แบบโรงแรม
สนใจติดต่อ ช่างบี

Tel. 086-7431141
E-mail:  baanthaidd@gmail.com
Line ID: line052014


การเจริญเติบโตของธุรกิจ ส่งผลต่อการขยายงานขององค์กรต่าง ๆ และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ได้พัฒนาและผลิตบุคลากรเพื่อป้อนตลาดแรงงาน กระบวนการดังกล่าวเป็นสงจรของกระบวนการทำงานในปัจจุบัน ทำให้ส่งผลต่อธุรกิจต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และจากตัวเลขการเพิ่มขึ้นของการจ้างงานต่าง ๆ ทำให้มองเห็นช่องทางในการสร้างรายได้อีกหลายประการ ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจอาหาร ธุรกิจขนส่ง ธุรกิจเสื้อผ้า และที่เราไม่สามารถมองข้ามไปได้ คือ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่ในขณะนี้มีการแข่งขันอย่างดุเดือด และมีธุรกิจที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ที่ในขณะนี้มีการแข่งขันอย่างดุเดือด และมีธุรกิจที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อีกประเภทคือ ธุรกิจเกี่ยวกับทำหอพักหรืออพาร์ตเมนต์ให้เช่า ซึ่งถือเป็นช่องทางหนึ่งที่สร้างกำไรให้กับเจ้าของธุรกิจดังกล่าวเป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าการทำธุรกิจดังกล่าวจะมีระยะเวลาในการคืนทุนข้ากว่าธุรกิจอื่น ๆ แต่ก็เป็นธุรกิจที่เรามักเรียกกันว่า “เสือนอนกิน”

           ดังนั้น บริษัท นาโน เซิร์ช จำกัด จึงได้ทำการศึกษาพฤติกรรมในการเลือกที่พักอาศัยดังกล่าวโดยศึกษากับกลุ่มตัวอย่างในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 200 ตัวอย่าง ในบริเวณที่มีที่พักอาศัย เช่นหอพัก อพาร์ตเมนต์หนาแน่น ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้จำกัดเฉพาะที่พักอาศัยที่ต้องจ่ายค่าเช่าเป็นรายเดือนและเป็นห้องพัก

           จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง โดยส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 42.0 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 58.0 สำหรับกลุ่มที่ศึกษานั้นต้องการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มคน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มนักเรียน / นักศึกษา และกลุ่มคนทำงาน ดังนั้นช่วงอายุเป็น 2 ช่วงอายุ คือ อายุ 18-22 ปี ร้อยละ 48.0 และอายุมากกว่า 22 ปี ร้อยละ 52.0

           ในการคิดทำธุรกิจหอพักนั้นสิ่งที่ต้องคิด คือ การจัดให้มีเฟอร์นิเจอร์ใดบ้างในห้องแต่ละห้อง ซึ่งหากสอบถามจากความคิดเห็นของผู้บริโภคเราจะพบว่า ผู้บริโภคต้องการให้มีอุปกรณ์พื้นฐานเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกที่จะเช่าพักหรือไม่ ทำให้ทราบว่าโดยส่วนใหญ่แล้วต้องการให้มีห้องน้ำในตัวทั้ง 2 ช่วงอายุ อันดับรองลงมาคือ ต้องการมีเตียงนอนและต้องการให้มีตู้เสื้อผ้า สำหรับข้อมูลที่น่าสนใจสำหรับส่วนนี้คือกลุ่มคนอายุ 18-22 ปีซึ่งเป็นวัยนักศึกษา ได้แสดงให้เห็นว่าต้องการให้มีพัดลมเพดานในห้องที่พักแตกต่างอย่างชัดเจนกับกลุ่มอายุมากกว่า 22 ปี

            นอกจากเฟอร์นิเจอร์พื้นฐานภายในห้องที่จำเป็นต้องมีแล้วนั้น สิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับคนที่พักในห้องพัก คือ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่จะต้องมี เพราะโลกในปัจจุบันเป็นโลกของข้อมูลข่าวสาร ดังนั้นจึงได้มีการทำการศึกษาถึงพฤติกรรมในการเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้ามาใช้งานโดยสำรวจเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีอยู่ในห้องพัก พบว่า เครื่องใช้ไฟฟ้าที่กลุ่มตัวอย่าคิดว่ามีความจำเป็นมากที่สุดคือ “โทรทัศน์” ร้อยละ 35 รองลงมาคือ “วิทยุ / สเตริโอ” ร้อยละ 24 และพัดลมตั้งพื้น ร้อยละ 15 ตามลำดับ นับว่าเป็นช่องทางการขายที่น่าสนใจสำหรับสินค้าในประเภทดังกล่าว

            สิ่งที่ผู้เช่าหรือผู้บริโภคจะใช้เป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจสำหรับการเลือกสถานที่ในการเช่านั้น มิได้คำนึงถึงค่าเช่าเป็นหลัก แต่หากพิจารณาลงไปแล้วพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ผู้เช่าเลือกคือ ความสะดวกในการดำเนินชีวิต เช่นการรับประทานอาหาร ร้อยละ 15.8 รองลงมา คือ การรักษาความปลอดภัย ร้อยละ 14.7 และระยะทาง / การเดินทางร้อยละ 13.3 สำหรับค่าเช่านั้นอยู่ในลำดับที่ 4

           ทำให้ทราบว่าทำเลในการสร้างหอพักหรือห้องพักนั้นจะต้องเลือกทำเลที่ดีในการสร้าง มิฉะนั้นธุรกิจอาจไม่ประสบความสำเร็จได้ ในการตัดสินใจจะเลือกสถานที่พักหรือสถานที่เช่านั้น โดยส่วนใหญ่จากการสอบถามหรือเช็กข้อมูลตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อทำการเปรียบเทียบข้อมูลหลาย ๆ ส่วนก่อนจะมีการตัดสินใจเช่า โดยส่วนใหญ่แล้วผู้บริโภคมักจะสอบถามประมาณ 2-3 แห่ง เพื่อใช้เปรียบเทียบว่าจะเช่าที่ได้ถึงจะดี และมีบางส่วนที่จะสอบถามถึง 4-5 แห่งก่อนการตัดสินใจ

           เมื่อได้สอบถามข้อมูลต่างๆ แล้วจะต้องมีระยะเวลาในการตัดสินใจย้ายหรือเปลี่ยนแปลงสถานที่เช่าใหม่ จะใช้เวลานานเท่าไหร่ที่จะหาข้อมูลและคิดว่าจะย้ายหรือเปลี่ยนที่พักใหม่ จากการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ใช้เวลา 1 เดือน ในการตัดสินใจเพื่อย้าย ถึงร้อยละ 36.0 และใช้เวลา 2 เดือนในการเตรียมตัวหรือหาข้อมูลสำหรับย้าย และนอกจากนั้นจะเป็นการใช้เวลาเป็น 10 วัน หรือ 15 วัน ตามลำดับ

           สำหรับการสร้างช่องทางการประชาสัมพันธ์ของธุรกิจหอพักค่อนข้างจะทำได้ยากหากจะมีประชาสัมพันธ์ให้ทราบว่ามีหอพักเปิดใหม่ ดังนั้นช่องทางที่ดีและเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้คือ การทำประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ เพราะกลุ่มตัวอย่างนั้นจะได้ทราบว่าหอพักอยู่หรือไปยังย่านที่ตนเองต้องการจะพัก รองลงมาคือ การสอบถามจากเพื่อนหรือคนรู้จัก ร้อยละ 24.0 ในขณะที่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์เกี่ยวกับหอพักมีผู้ใช้สื่อดังกล่าวเพียง 4.5 เท่านั้น

           จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับการวางแผนในเรื่องที่อยู่อาศัย เพื่อต้องการประเมินสถานการณ์ความต้องการพักอาศัยในอนาคต ทราบว่า กลุ่มผู้เช่าหอพักอยู่นั้น มีความต้องการซื้อบ้านและคอนโดฯ สูงถึงร้อยละ 47.0 และร้อยละ 20.0 ที่ต้องการย้ายที่พักตามสถานที่ทำงาน แต่ยังคงอยู่หอพักเช่นเดิมจากคำตอบที่ได้นี้ นับเป็นช่องทางสดใสสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นบ้านหรือคอนโดฯ เพราะกลุ่มคนที่ต้องการมีที่พักอาศัยเป็นของตนเองเกือบครึ่งจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด

-------------------------------------------------------
Keyword แบบอพาร์ทเม้นท์, แบบอพาร์ทเม้นท์2ชั้น, แบบอพาร์ทเม้นท์3ชั้น, แบบอพาร์ทเม้นท์4ชั้น, แบบอพาร์ทเม้นท์5ชั้น,apartment design, apartment planning, ขายแบบอพาร์ตเมนท์ สำเร็จรูป, ขายแบบอพาร์ทเมนท์ apartment สำเร็จรูป ขนาด 100 ตารางวา, รับออกแบบอพาร์ทเมนต์, แบบหอพัก, แบบหอพัก 3 ชั้น, แบบหอพัก 4 ชั้น, แบบหอพัก 5 ชั้น, แบบหอพัก 6 ชั้น, แบบหอพัก 7 ชั้น, แบบหอพัก 8 ชั้น, แบบอพาร์ตเมนท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 3 ชั้น, แบบอพาร์ทเมนต์ 4 ชั้น, แบบอพาร์ทเมนต์ 5 ชั้น ไม่มีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 5 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 6 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 7 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 8 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนท์ สำเร็จรูป ขนาด 150 ตารางวา, แบบแปลนอพาร์ทเมนต์,อพาร์ทเม้นท์, หอพัก, ห้องพัก, ห้องเช่า, อพาร์ทเม้นท์ให้เช่า, apartmentกรุงเทพมหานคร, กระบี่, กาญจนบุรี, กาฬสินธุ์, กำแพงเพชร, ขอนแก่น, จันทบุรี, ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ชัยนาท, ชัยภูมิ, ชุมพร, เชียงราย, เชียงใหม่, ตรัง, ตราด, ตาก, นครนายก, นครปฐม นครพนม, นครราชสีมา, นครศรีธรรมราช, นครสวรรค์, นนทบุรี, นราธิวาส, น่าน, บึงกาฬ, บุรีรัมย์, ปทุมธานี, ประจวบคีรีขันธ์, ปราจีนบุรี, ปัตตานี, พระนครศรีอยุธยา, พังงา, พัทลุง, พิจิตร พิษณุโลก, เพชรบุรี, เพชรบูรณ์, แพร่, พะเยา, ภูเก็ต, มหาสารคาม, มุกดาหาร, แม่ฮ่องสอน, ยะลา, ยโสธร, ร้อยเอ็ด, ระนอง, ระยอง, ราชบุรี, ลพบุรี, ลำปาง, ลำพูน, เลย, ศรีสะเกษ, สกลนคร สงขลา, สตูล, สมุทรปราการ, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, สระแก้ว, สระบุรี, สิงห์บุรี, สุโขทัย, สุพรรณบุรี, สุราษฎร์ธานี, สุรินทร์, หนองคาย, หนองบัวลำภู, อ่างทอง, อุดรธานี, อุทัยธานี, อุตรดิตถ์ อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ

สิ่งที่ควรรู้ ก่อนลงทุนอพาร์ทเม้นท์

Website : http://apartment-tel0867431141.blogspot.com/
บริษัท รับออกแบบ รับเหมาก่อสร้าง
รับสร้างห้องเช่า รับสร้างหอพัก รับสร้างเซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์  รับสร้างอพาร์ทเม้นท์  รับสร้างโรงแร แบบห้องเช่า แบบหอพัก แบบเซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ แบบอพาร์ทเม้นท์ แบบโรงแรม
สนใจติดต่อ ช่างบี
Tel. 086-7431141
E-mail:  baanthaidd@gmail.com
Line ID: line052014

สิ่งที่ควรรู้ ก่อนลงทุนอพาร์ทเม้นท์
มีหลักๆ อยู่หลายประการ เพราะในธุรกิจอพาร์ทเมนท์ คุณต้องใช้เงินจำนวนมากในการลงทุน
 การก่อสร้างอพาร์ทเม้นท์ มีความแตกต่างและยุ่งยากกว่า  บ้านที่อยู่อาศัย หรืออาคารสำนักงาน          
 อาคารพาณิชย์ ทาว์นโฮม  อยู่พอสมควร เนื่องจากเป็นอาคารขนาดใหญ่ ห้องพักอาศัยหลากหลาย      
 มากมายกว่าบ้านพักอาศัยมาก    ถ้าเป็นอาคารทั่วไป ถ้าจะมีห้องนอนก็คงไม่กี่ห้อง ถ้ามีห้องน้ำก็จะ
 ไม่มากเท่าไร    ขึ้นอยู่กับสัดส่วนของบ้านพักอาศัย และจำนวนผู้พักอาศัย
ขั้นตอนเริ่มแรกสำหรับผู้ที่คิดจากเข้ามาทำธุรกิจอพาร์ทเม้นท์     ต้องศึกษา ก่อน
1. ทำเล  :  จะทำให้ได้เปรียบทางธุรกิจ ถ้าเรามีที่ ที่ดีอยู่ใกล้ ห้างฯ สำนักงาน สถาบันการศึกษา
ก็จะทำให้เราได้เปรียบกว่าคู่แข่งที่มีอพาร์ทเม้นท์ออกไปนอกแหล่งธุรกิจ
2.  กฏหมาย :  ขีดจำกัดของที่ดิน หากเรามีที่ อยู่บริเวณชุมชน แต่ผังสีที่ดินไม่สามารถ ทำธุรกิจ
พาณิชย์กรรมได้  ก็ทำให้เราไม่สามารถสร้างโครงการชึ้นมาได้เช่น  ( กรณีที่ติดผังสี )
3. งบประมาณ  :  การศึกษา งบประมาณ ที่ลงทุนไม่ว่าจะเป็น   ต้นทุนที่ดิน ต้นค่าก่อสร้าง
ต้นทุนค่าดอกเบี้ย ต้องศึกษาให้ดี ก่อน เนื่องจาก โครงการจะเกิดหรือไม่เกิด คงต้องขึ้นอยู่กับ
รายรับ - รายจ่าย  และระยะเวลาที่คืนทุน
4. สรรหาบริษัทฯ ในการก่อสร้าง  :  ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอน หนึ่งครับ ที่สำคัญ ถ้าเราให้บริษัทฯ
หรือผู้รับเหมาที่ ไม่มีประสบการณ์ ในการก่อสร้าง อพาร์ทเม้นท์  จะทำให้ทุน การก่อสร้างเราสูง
กว่าต้นทุนที่เราว่างงบไว้  ปัญหาเกิดจากการทิ้งงาน และการไม่มีความรับผิดชอบ  ของผู้รับเหมา

Keyword แบบอพาร์ทเม้นท์, แบบอพาร์ทเม้นท์2ชั้น, แบบอพาร์ทเม้นท์3ชั้น, แบบอพาร์ทเม้นท์4ชั้น, แบบอพาร์ทเม้นท์5ชั้น,apartment design, apartment planning, ขายแบบอพาร์ตเมนท์ สำเร็จรูป, ขายแบบอพาร์ทเมนท์ apartment สำเร็จรูป ขนาด 100 ตารางวา, รับออกแบบอพาร์ทเมนต์, แบบหอพัก, แบบหอพัก 3 ชั้น, แบบหอพัก 4 ชั้น, แบบหอพัก 5 ชั้น, แบบหอพัก 6 ชั้น, แบบหอพัก 7 ชั้น, แบบหอพัก 8 ชั้น, แบบอพาร์ตเมนท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 3 ชั้น, แบบอพาร์ทเมนต์ 4 ชั้น, แบบอพาร์ทเมนต์ 5 ชั้น ไม่มีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 5 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 6 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 7 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนต์ 8 ชั้นมีลิฟท์, แบบอพาร์ทเมนท์ สำเร็จรูป ขนาด 150 ตารางวา, แบบแปลนอพาร์ทเมนต์,อพาร์ทเม้นท์, หอพัก, ห้องพัก, ห้องเช่า, อพาร์ทเม้นท์ให้เช่า, apartmentกรุงเทพมหานคร, กระบี่, กาญจนบุรี, กาฬสินธุ์, กำแพงเพชร, ขอนแก่น, จันทบุรี, ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ชัยนาท, ชัยภูมิ, ชุมพร, เชียงราย, เชียงใหม่, ตรัง, ตราด, ตาก, นครนายก, นครปฐม นครพนม, นครราชสีมา, นครศรีธรรมราช, นครสวรรค์, นนทบุรี, นราธิวาส, น่าน, บึงกาฬ, บุรีรัมย์, ปทุมธานี, ประจวบคีรีขันธ์, ปราจีนบุรี, ปัตตานี, พระนครศรีอยุธยา, พังงา, พัทลุง, พิจิตร พิษณุโลก, เพชรบุรี, เพชรบูรณ์, แพร่, พะเยา, ภูเก็ต, มหาสารคาม, มุกดาหาร, แม่ฮ่องสอน, ยะลา, ยโสธร, ร้อยเอ็ด, ระนอง, ระยอง, ราชบุรี, ลพบุรี, ลำปาง, ลำพูน, เลย, ศรีสะเกษ, สกลนคร สงขลา, สตูล, สมุทรปราการ, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, สระแก้ว, สระบุรี, สิงห์บุรี, สุโขทัย, สุพรรณบุรี, สุราษฎร์ธานี, สุรินทร์, หนองคาย, หนองบัวลำภู, อ่างทอง, อุดรธานี, อุทัยธานี, อุตรดิตถ์ อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ

สินเชื่อเพื่อสร้างอพาร์ทเมนท์-หอพัก

 สินเชื่อเพื่อสร้างอพาร์ทเมนท์-หอพัก
บริการสินเชื่อเพื่อสร้างอพาร์ทเมนท์-หอพัก เป็นวงเงินสินเชื่อ เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการธุรกิจอพาร์ทเมนท์หรือหอพักให้เช่า ทั้งกู้เพื่อก่อสร้างอพาร์ทเมนท์-หอพักใหม่บนที่ดินของตนเอง ปรับปรุงอาคารสิ่งปลูกสร้างเดิมที่มีอยู่ หรือ Refinance วงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินเดิม หรือ ซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างที่เป็นอพาร์ทเมนท์-หอพักโดยถือเป็นบริการที่สมบูรณ์ครบวงจร ด้วยข้อเสนอดีๆ ที่แตกต่างดังนี้

พิจารณารวดเร็ว
วงเงินค่าก่อสร้าง อพาร์ทเมนท์-หอพักได้สูงสุดถึง 100% ของมูลค่างานก่อสร้าง
มีรูปแบบของวงเงินที่หลากหลาย ตรงต่อความต้องการ
มีวงเงินสินเชื่อเพื่อการตกแต่งภายใน
การผ่อนชำระที่สอดคล้องกับรายได้
โดยระยะเวลาผ่อนชำระนานสูงสุด 15 ปี
คุณสมบัติของผู้กู้

บุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล
มี อพาร์ทเมนท์-หอพัก อยู่แล้วต้องการปรับปรุง ต่อเติม หรือต้องการก่อสร้างใหม่ บนที่ดินของตนเอง หรือต้องการซื้อหอพัก-อพาร์ทเมนท์
เอกสารประกอบการพิจารณาสินเชื่อ

กรณีนิติบุคคล

สำเนาหนังสือรับรองบริษัท (อายุไม่เกิน 3 เดือน), รายชื่อผู้ถือหุ้น, หนังสือบริคณห์สนธิ  พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง
สำเนาบัตรประชาชนและทะเบียนบ้านของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง
งบการเงินย้อนหลัง 3 ปี
ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
บัญชีเงินฝาก/Statement การเดินบัญชีของกรรมการหรือนิติบุคคลย้อนหลัง 6 เดือน
สำเนาโฉนดที่เสนอเป็นหลักการประกัน, ใบอนุญาตการก่อสร้าง
แบบแปลนสิ่งปลูกสร้าง
กรณีบุคคลธรรมดา

สำเนาบัตรประชาชนและทะเบียนบ้านผู้กู้ และคู่สมรส (ถ้ามี)พร้อมรับรองสำเนาฯ
สำเนาทะเบียนการค้า (ถ้ามี)
ประวัติผู้กู้, ประสบการณ์ในการดำเนินธุรกิจ
บัญชีเงินฝาก/Statement การเดินบัญชีย้อนหลัง 6 เดือน

การขออนุญาตก่อสร้างอาคารในกรุงเทพมหานคร

ข้อแนะนำนี้กรุงเทพมหานครจัดทำขึ้นเพื่อให้ความสะดวกกับเจ้าของอาคารหรือผู้ออกแบบโดยมี ความรู้ความเข้าใจกฎหมายควบคุมอาคารที่จะต้องใช้ในการออกแบบจะได้ไม่เกิดความผิดพลาด ทำให้เสียเวลาในการขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ซึ่งมีข้อแนะนำหลักๆดังต่อไปนี้

1. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับที่ดินที่จะใช้ก่อสร้าง

ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณที่จะก่อสร้างว่าขัดผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานครตาม กฎหมายกระทรวงฉบับที่414 ตรวจสอบว่าในบริเวณดังกล่าวมีกฏกระทรวง,เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติ กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทหรือไม่ และอาคารที่ท่านจะก้อสร้าง มีข้อห้ามหรือหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง ตรวจสอบว่าในบริเวณดังกล่าวมีกฏหมายของหน่วยราชการอื่นที่ห้ามก่อสร้างหรือมีข้อกำหนดในการ ก่อสร้างอาคารนอก เหนือจากพ.ร.บควบคุมอาคารหรือไม่เช่นบริเวณเขตปลอดภัยในราชการทหาร, บริเวณเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ,ข้อกำหนดเงื่อนไขในการปลูกสร้างอาคารริมเขตทางหลวง สอบถามข้อมูลได้ที่ กองควบคุมอาคาร สำนักการโยธา กทม 2 หรือสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร หรือ สำนักงานเขตพื้นที่

2. แนวร่นของอาคาร

อาคารพักอาศัยมิใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องปฏิบัติดังนี้

อาคารก่อสร้างริมถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า6เมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากศูนย์กลาง ถนนสาธารณะอย่างน้อย3เมตร อาคารที่สูงเกิน2ชั้น หรือเกิน8เมตร ที่ก่อสร้างใกล้ถนนสาธารณะ

2.1 ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า10เมตรให้ร่นแนวอาคารห่างจากศูนย์กลางถนนสาธารณะ อย่างน้อย6เมตร

2.2 ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่10เมตรขึ้นไปแต่ไม่เกิน20เมตรให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขต ถนนสาธารณะอย่างน้อย1ใน10 ของความกว้างของถนนสาธารณะ

2.3 ถ้าถนนสาธารณะนั้น มีความกว้างเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะ อย่างน้อย2เมตร

อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องปฏิบัติดังนี้

ต้องร่นแนวผนังห่างเขตที่ดินผู้อื่น และห่างถนนสาธารณะ ไม่น้อยกว่า6เมตร
ต้องมีด้านหนึ่งด้านใดของที่ดินนั้นยาวไม่น้อยกว่า12เมตรติดถนนสาธารณะมีเขตทางกว้างไม่น้อยกว้าง10เมตรยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชื่อมต่อกับถนนสาธารณะอื่นที่มีเขตทางกว้างไม้น้อยกว่า10เมตรและหากอาคารมีพื้นที่อาคารเกินกว่า 30,000เมตรที่ดินต้องอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีความกว้างไม่น้อยกว่า18เมตรยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชื่อมต่อกับถนนสาธารณะที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า18เมตร
อัตราส่วนพื้นที่อาคารทุกชั้นรวมกันต่อพื้นที่ดิน (FAR) ต้องไม่เกิน 10:1
ต้องมีที่ว่างอันปราศจากหลังคาหรือสิ่งปกคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพื้นที่
หลักเกณฑ์ของข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเรื่องกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างดัดแปลงใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภทในบริเวณดังกล่าว (ถ้ามี)

กฏกระทรวงฉบับที่ 414 (พ.ศ.2542)

อาคารที่ก่อสร้างริมถนนสายหลักตามบัญชีรายชื่อถนนตามข้อ8ของกฏกระทรวงต้องมีที่ว่างห่างจาก แนวเขตทางไม่น้อยกว่า2เมตร อาคารที่ก่อสร้างริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต้องมีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งแม่น้ำไม่น้อยกว่า3เมตร

อาคารที่ก่อสร้างริมคลองตามบัญชีรายชื่อคลองตามข้อ10ของกฏกระทรวงต้องมีที่ว่างตามแนว ขนานริมฝั่งคลองไม่น้อยกว่า6เมตร หากอาคารที่ก่อสร้างไม่อยู่ริมฝั่งคลองในบัญชีรายชื่อดังกล่าว ต้องมีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งคลองไม่น้อยกว่า3เมตร

อาคารที่ก่อสร้างใกล้แหล่งน้ำสาธารณะเช่น แม่น้ำ คู คลอง ลำรางหรือลำกระโดงถ้าแหล่งน้ำ สาธารณะมีความกว้างน้อยกว่า10เมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำสาธารณะไม่น้อย กว่า3เมตรถ้าแหล่งน้ำสาธารณะมีความกว้างตั้งแต่10เมตรขึ้นไปต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขต แหล่งน้ำสาธารณะไม่น้อยกว่า6เมตร แต่ถ้าอาคารใกล้แหล่งน้ำสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรือทะเล ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำสาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า12เมตร (กฏกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543 ข้อ 42)

3. ความสูงของอาคาร

3.1 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใดต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบโดยวัดจากจุดนั้นไปตั้ง ฉากกับแนวเขตด้านตรงข้ามของถนนสาธารณะที่อยู่ใกล้อาคารนั้นที่สุด

3.2 อาคารหลังเดียวกันซึ่งมีถนนสาธารณะสองสายขนาดไม่เท่ากันขนาบอยู่เมื่อระยะระหว่างถนน สาธารณะสองสายนั้นไม่เกิน60เมตร และส่วนกว้างของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่กว้างกว่า ไม่เกิน60เมตร ความสูงของอาคาร ณ จุดใดต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบที่ใกล้ที่สุดจากจุดนั้น ไปตั้งฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะด้านตรงข้ามของสายที่กว้างกว่า

3.3 อาคารหลังเดียวกันซึ่งอยู่ที่มุมถนนสาธารณะสองสายไม่เท่ากันความสูงของอาคาร ณ จุดใดต้องไม่ เกินสองเท่าของระยะราบที่ใกล้ที่สุดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะด้านตรงข้ามของ สายที่กว้างกว่าและความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกว่าต้องไม่เกิน60เมตร

3.4 ระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงพื้นต้องไม่น้อยกว่า2.6เมตร

4. จำนวนที่จอดรถยนต์ตามกฏกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517)

กรณีห้องพักมีพื้นที่แต่ละหน่วยตั้งแต่60ตารางเมตรขึ้นไปให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คัน ต่อ1 หน่วย

5. ระบบบำบัดน้ำเสีย

ต้องมีคุณภาพน้ำทิ้งตามมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งของกฏกระทรวงฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2540)ออกตาม ความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ 2522

6. ระบบป้องกันอัคคีภัย

6.1 กรณีอาคารที่ก่อสร้างไม่เข้าข่ายเป็นอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษให้ติดตั้งบันไดหนีไฟและ อุปกรณ์เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัยตามกฏกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ 2537)กฏกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ 2540) และกฏกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ 2543) และประกาศกรุงเทพมหานครเรื่องข้อกำหนด ลักษณะแบบของบันไดหนีไฟทางอากาศของอาคาร พ.ศ 2531

6.2 กรณีอาคารที่ก่อสร้างเข้าข่ายเป็นอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษให้ติดตั้งบันไดหนีไฟและ ระบบเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัยตามกฏกระทรวงฉบับที่ 33(พ.ศ 2535)กฏกระทรวงฉบับที่  50 (พ.ศ 2540)และประกาศกรุงเทพมหานครเรื่องข้อกำหนดลักษณะแบบของบันไดหนีไฟทางอากาศ ของอาคาร พ.ศ 2531

7. กฏหมายของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

อาคารที่มีจำนวนห้องพักอาศัยตั้งแต่80ห้องขึ้นไปต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวด ล้อมและต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯก่อนจึงมายื่นขออนุญาตต่อกรุงเทพฯได้

8. การยื่นขออนุญาต

8.1 กรณีอาคารสูงไม่เกิน 4 ชั้นและสูงไม่เกิน 15 เมตร ให้ยื่นขออนุญาตที่สำนักงานเขตท้องที่

8.2 กรณีอาคารสูงเกิน 4 ชั้นขึ้นไปให้ยื่นขออนุญาตที่กองควบคุมอาคาร สำนักการโยธา กทม.2ถนนมิตร ไมตรี เขตดินแดง โทร.  02-247-0077    



--------------- หากท่านมีปัญหาไม่เข้าใจในข้อแนะนำท่านสามารถปรึกษาข้อปัญหาได้ที่ ---------------

1. ศูนย์บริการให้ปรึกษาก่อนการขออนุญาต กองควบคุมอาคาร ชั้น 6 ตึกสำนักการโยธา กทม.2 เบอร์โทรศัพท์ 247-0106

2. ฝ่ายควบคุมอาคาร 1,2,3 กองควบคุมอาคาร ชั้น 5 ตึกสำนักการโยธา กทม.2 เบอร์โทรศัพท์ 247-0076, 247-0105

3. ผู้อำนวยการกองควบคุมอาคาร ชั้น 5 ตึกสำนักการโยธา กทม.2 เบอร์โทรศัพท์ 246-0331

4. ฝ่ายโยธาเขตพื้นที่

กฎหมายควบคุมอาคารความสูงของอาคาร

3.1 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใดต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบโดยวัดจากจุดนั้นไปตั้ง ฉากกับแนวเขตด้านตรงข้ามของถนนสาธารณะที่อยู่ใกล้อาคารนั้นที่สุด

3.2 อาคารหลังเดียวกันซึ่งมีถนนสาธารณะสองสายขนาดไม่เท่ากันขนาบอยู่เมื่อระยะระหว่างถนน สาธารณะสองสายนั้นไม่เกิน60เมตร และส่วนกว้างของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่กว้างกว่า ไม่เกิน60เมตร ความสูงของอาคาร ณ จุดใดต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบที่ใกล้ที่สุดจากจุดนั้น ไปตั้งฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะด้านตรงข้ามของสายที่กว้างกว่า

3.3 อาคารหลังเดียวกันซึ่งอยู่ที่มุมถนนสาธารณะสองสายไม่เท่ากันความสูงของอาคาร ณ จุดใดต้องไม่ เกินสองเท่าของระยะราบที่ใกล้ที่สุดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะด้านตรงข้ามของ สายที่กว้างกว่าและความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกว่าต้องไม่เกิน60เมตร

3.4 ระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงพื้นต้องไม่น้อยกว่า2.6เมตร

แนวร่นของอพาร์ทเม้นท์

อาคารพักอาศัยมิใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องปฏิบัติดังนี้

อาคารก่อสร้างริมถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า6เมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากศูนย์กลาง ถนนสาธารณะอย่างน้อย3เมตร อาคารที่สูงเกิน2ชั้น หรือเกิน8เมตร ที่ก่อสร้างใกล้ถนนสาธารณะ

2.1 ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า10เมตรให้ร่นแนวอาคารห่างจากศูนย์กลางถนนสาธารณะ อย่างน้อย6เมตร

2.2 ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่10เมตรขึ้นไปแต่ไม่เกิน20เมตรให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขต ถนนสาธารณะอย่างน้อย1ใน10 ของความกว้างของถนนสาธารณะ

2.3 ถ้าถนนสาธารณะนั้น มีความกว้างเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะ อย่างน้อย2เมตร

อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องปฏิบัติดังนี้

ต้องร่นแนวผนังห่างเขตที่ดินผู้อื่น และห่างถนนสาธารณะ ไม่น้อยกว่า6เมตร
ต้องมีด้านหนึ่งด้านใดของที่ดินนั้นยาวไม่น้อยกว่า12เมตรติดถนนสาธารณะมีเขตทางกว้างไม่น้อยกว้าง10เมตรยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชื่อมต่อกับถนนสาธารณะอื่นที่มีเขตทางกว้างไม้น้อยกว่า10เมตรและหากอาคารมีพื้นที่อาคารเกินกว่า 30,000เมตรที่ดินต้องอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีความกว้างไม่น้อยกว่า18เมตรยาวต่อเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชื่อมต่อกับถนนสาธารณะที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า18เมตร
อัตราส่วนพื้นที่อาคารทุกชั้นรวมกันต่อพื้นที่ดิน (FAR) ต้องไม่เกิน 10:1
ต้องมีที่ว่างอันปราศจากหลังคาหรือสิ่งปกคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพื้นที่
หลักเกณฑ์ของข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเรื่องกำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างดัดแปลงใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภทในบริเวณดังกล่าว (ถ้ามี)

กฏกระทรวงฉบับที่ 414 (พ.ศ.2542)

อาคารที่ก่อสร้างริมถนนสายหลักตามบัญชีรายชื่อถนนตามข้อ8ของกฏกระทรวงต้องมีที่ว่างห่างจาก แนวเขตทางไม่น้อยกว่า2เมตร อาคารที่ก่อสร้างริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต้องมีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งแม่น้ำไม่น้อยกว่า3เมตร

อาคารที่ก่อสร้างริมคลองตามบัญชีรายชื่อคลองตามข้อ10ของกฏกระทรวงต้องมีที่ว่างตามแนว ขนานริมฝั่งคลองไม่น้อยกว่า6เมตร หากอาคารที่ก่อสร้างไม่อยู่ริมฝั่งคลองในบัญชีรายชื่อดังกล่าว ต้องมีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งคลองไม่น้อยกว่า3เมตร

อาคารที่ก่อสร้างใกล้แหล่งน้ำสาธารณะเช่น แม่น้ำ คู คลอง ลำรางหรือลำกระโดงถ้าแหล่งน้ำ สาธารณะมีความกว้างน้อยกว่า10เมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำสาธารณะไม่น้อย กว่า3เมตรถ้าแหล่งน้ำสาธารณะมีความกว้างตั้งแต่10เมตรขึ้นไปต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขต แหล่งน้ำสาธารณะไม่น้อยกว่า6เมตร แต่ถ้าอาคารใกล้แหล่งน้ำสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรือทะเล ต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตแหล่งน้ำสาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า12เมตร (กฏกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543 ข้อ 42)

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับที่ดินที่จะใช้ก่อสร้างอพาร์ทเม้นท์

ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณที่จะก่อสร้างว่าขัดผังเมืองรวมของกรุงเทพมหานครตาม กฎหมายกระทรวงฉบับที่414 ตรวจสอบว่าในบริเวณดังกล่าวมีกฏกระทรวง,เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติ กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภทหรือไม่ และอาคารที่ท่านจะก้อสร้าง มีข้อห้ามหรือหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง ตรวจสอบว่าในบริเวณดังกล่าวมีกฏหมายของหน่วยราชการอื่นที่ห้ามก่อสร้างหรือมีข้อกำหนดในการ ก่อสร้างอาคารนอก เหนือจากพ.ร.บควบคุมอาคารหรือไม่เช่นบริเวณเขตปลอดภัยในราชการทหาร, บริเวณเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ,ข้อกำหนดเงื่อนไขในการปลูกสร้างอาคารริมเขตทางหลวง สอบถามข้อมูลได้ที่ กองควบคุมอาคาร สำนักการโยธา กทม 2 หรือสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร หรือ สำนักงานเขตพื้นที่

แบบอพาร์ทเม้นท์ แบบคอนโด แบบรีสอร์ท แบบโรงแรม แบบหอพัก

                   

แบบอพาร์ทเม้นท์ แบบคอนโด แบบรีสอร์ท แบบโรงแรม แบบหอพัก

วิธีการและเทคนิคการออกแบบช่วยลดต้นทุนการก่อสร้างอพาร์ทเม้นท์จากเรา
คลิกลิงค์ได้เลยครับ https://sky-consult.blogspot.com/p/blog-page_12.html
แบบอพาร์ทเม้นท์ แบบคอนโด แบบรีสอร์ท แบบโรงแรม แบบหอพัก ทั้งหมด
คลิกลิงค์ได้เลยครับ https://sky-consult.blogspot.com/p/drawing-apartment-design.html

แบบอพาร์ทเม้นท์2ชั้น

แบบอพาร์ทเม้นท์3ชั้น

แบบอพาร์ทเม้นท์4ชั้น

แบบอพาร์ทเม้นท์5ชั้น